Page 11 - PerceptionSurvey2024
P. 11

การประชาสัมพันธ?และภาพลักษณ?ของกรุงเทพมหานคร โดยนําข?อมูลมาวิเคราะห?ข?อมูลทางสถิติ โดยสถิติที่
นํามาใช?ในการวิเคราะห? คือ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) การวิเคราะห?และอภิปรายผล และ
มกี ารจดั ทําขอ? เสนอแนะต?อการส่ือสารประชาสัมพนั ธ?และสร?างภาพลักษณ?ของกรุงเทพมหานคร

ขอบเขตด?านกล?ุมเปา? หมายและพื้นทีก่ ารสํารวจ
      1. การสํารวจสื่อประชาสัมพันธ?และภาพลักษณ?ของกรุงเทพมหานคร ประจําป? 2567 ผู?จัดทําได?

กําหนดพื้นที่ครอบคลุม 50 เขตของกรุงเทพฯ โดยกลุ?มเป?าหมายคือประชากรในทะเบียนราษฎรและ
ประชากรแฝง รวมประมาณ 5.4 ลา? นคน โดยใช?สูตร Taro Yamane (1967) คํานวณกลุ?มตัวอย?างขั้นต่ําท่ี 400 คน
อยา? งไรกต็ าม เพื่อเพ่ิมความแม?นยํา ผจ?ู ัดทาํ ไดข? ยายกลม?ุ ตัวอยา? งเป?น 400 คนต?อกลม?ุ เขต รวม 2,400 คน และ
เพ่ิมอีกเปน? ไมน? อ? ยกวา? 3,000 คน เพ่ือปอ? งกนั ความคลาดเคลื่อน

      2. การสัมภาษณ?กลุ?มประชาชนในกรุงเทพฯ การสัมภาษณ?และสนทนากลุ?มประชาชน
แบ?งเป?น 4 ช?วงวัย ได?แก? (1) Baby Boomer (เกิดป? พ.ศ. 2487–2507) (2) Generation X (เกิดป? พ.ศ.
2508–2522) (3) Generation Y (เกดิ ป? พ.ศ. 2523–2540) และ (4) Generation Z (เกดิ หลงั ป? พ.ศ. 2540)
โดยกล?มุ ละ 15 คน รวมทั้งหมด 60 คน ทง้ั น้ี เนน? คดั เลอื กผ?มู ีสว? นได?ส?วนเสียทไ่ี ดร? บั ผลกระทบจากนโยบายของ
กรุงเทพมหานคร

ความสําคัญของการส่ือสารประชาสัมพันธ?ในบรบิ ทของกรุงเทพมหานคร
      การสื่อสารประชาสัมพันธ?มีบทบาทสําคัญอย?างยิ่งในการเสริมสร?างความเข?าใจและความร?วมมือ

ระหว?างกรุงเทพมหานครกับประชาชน กลยุทธ?การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพช?วยให?ข?อมูล ข?าวสาร และนโยบาย
ของกรุงเทพมหานครถูกส?งต?อไปยังประชาชนอย?างถูกต?องและทั่วถึง ซึ่งส?งผลให?เกิดความโปร?งใสและ
ความเชื่อมัน่ ในหน?วยงานของรัฐ

      ด?วยความหลากหลายของประชากรในกรุงเทพฯ ที่ประกอบด?วยกลุ?มอายุ ระดับการศึกษา และ
ความสามารถในการเข?าถึงเทคโนโลยีที่แตกต?างกัน การใช?สื่อประชาสัมพันธ?ที่ครอบคลุมทั้งสื่อดั้งเดิมและ
สื่อดิจิทัลจึงเป?นสิ่งจําเป?น สื่อดั้งเดิมอย?างโทรทัศน? วิทยุ และการสื่อสารผ?านตัวแทนชุมชน ยังคงเป?นช?องทาง
สําคัญในการเข?าถึงกลุ?มผู?สูงอายุและประชาชนที่มีการเข?าถึงเทคโนโลยีท่ีจํากัด ในขณะเดียวกัน สื่อดิจิทัล
และโซเชียลมีเดียสามารถเขา? ถึงกลม?ุ คนรุ?นใหม?และผทู? ่ีใช?งานอนิ เทอรเ? น็ตเป?นประจํา

      การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพช?วยส?งเสริมการมีส?วนร?วมของประชาชนในการพัฒนาเมือง เมื่อได?รับ
ข?อมูลที่ชัดเจนและเข?าใจง?าย ประชาชนจะพร?อมสนับสนุนนโยบายของกรุงเทพมหานคร การเป?ดโอกาสให?
แสดงความคิดเห็นผ?านช?องทางที่หลากหลาย ยังช?วยให?กรุงเทพมหานครตอบสนองต?อความต?องการของ
ประชาชนได?ตรงจุด ดังนั้น การสื่อสารประชาสัมพันธ?ที่ครอบคลุมทุกกลุ?มไม?เพียงแต?เสริมสร?างความเชื่อมั่น
แต?ยงั เปน? เครื่องมอื สําคญั ในการพัฒนาเมืองและยกระดบั คุณภาพชวี ิตของประชาชน

                                                                                               11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16