Page 16 - PerceptionSurvey2024
P. 16

2.5.1 สื่อเก?า หรือ สื่อดั้งเดิม (Traditional Media) เป?นสื่อที่ผูส? ง? สารทาํ หน?าที่สง? สารไปยงั

ผู?รับสารได?ทางเดียว และผู?รับสารไม?สามารถติดต?อกลับทางตรงไปยังผูส? ง? สารได? เช?น หนังสือพิมพ? สื่อโทรเลข

สื่อวิทยุ  สื่อโทรทัศน?  และสื่อภาพยนตร?  (ฐิตินัน  บุญภาพ  คอมมอน,  2556) 5                                                                                     ซึ่งบางสื่อต?องเผชิญป?ญหาของ
                                                                                                                                                         2F2F2F

ยุคหลอมรวมสอื่ เช?น สอ่ื สง่ิ พมิ พอ? ย?างหนังสือพิมพ?และนิตยสารกําลงั เผชิญป?ญหา ทง้ั ลักษณะของข?าวสารและ

ช?องทางการสื่อสาร รวมถึงข?าวที่เกิดขึ้นเมื่อเผยแพร?แล?วก็นําไปผลิตต?อและทําซํ้าได?ง?าย ๆ นอกจากน้ี

พัฒนาการด?านเทคโนโลยีทําให?พฤติกรรมของประชาชนผู?รับสารที่เปลี่ยนไป และส?งผลอย?างรุนแรงต?อธุรกิจ

สอ่ื สงิ่ พิมพจ? ากแพลตฟอร?มเดิมของสิ่งพิมพ?ทเี่ ป?น “กระดาษ” เปลย่ี นเปน? รปู แบบออนไลน?ทีส่ ามารถเข?าถึงผ?าน

อปุ กรณ?ตา? ง ๆ ทาํ ใหก? ารเข?าถึงเอกสารอิเล็กทรอนิกส?สะดวกกว?าการพกพาหนังสือ (อารยี ? ปอ? งสดี า และคณะ,

2559)56 ทําให?การสื่อสารผ?านสื่อสิ่งพิมพ?จึงไม?เป?นที่นิยมในป?จจุบัน อย?างไรก็ตาม ยังคงมีสื่อเก?าที่ยังคงมี

อิทธิพลตอ? การสอ่ื สารในป?จจบุ นั เปน? อยา? งมาก เช?น สือ่ วทิ ยุ หรอื สอ่ื โทรทัศน?

            2.5.2 สื่อใหม? (New Media) หรือ สื่อดิจิทัลสมัยใหม? (NDM/New Digital Media)

มีลักษณะเป?นสื่อที่เอื้อให?ผู?ส?งสารและผู?รับสารทําหน?าที่ส?งสารและรับสารได?พร?อมกัน เป?นการสื่อสาร

“สองทาง” และสื่อยังทําหน?าที่ส?งสารได?หลากหลายประกอบกัน คือ ภาพ เสียง และข?อความ โดยรวม

เทคโนโลยีของสื่อดั้งเดิมเข?ากับความก?าวหน?าของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ณัฏฐ?ชดา วัฒนาชัยผล, 2560)67

กล?าวได?ว?า “สื่อใหม?” เกิดจากเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย โดยมีอินเทอร?เน็ตเป?นสื่อกลาง

ในการเช่ือมตอ? หรือปฏสิ ัมพันธ? เป?นเครอื ขา? ยสังคมออนไลน?ในคอมพวิ เตอร?และแอปพลเิ คชันในโทรศัพท?มือถือ

สามารถรับรู?สื่อ ตอบโต?สื่อและแบ?งป?นความคิด ข?าวสารต?าง ๆ ได?รวดเร็ว รวมทั้งยังสามารถแก?ไขหรือ

เปลี่ยนแปลงเนื้อหาของสื่อได? ทั้งนี้การเข?ามาของสื่อใหม?ทําให?พฤติกรรมการรับข?าวสารของประชาชน

เปลยี่ นไป

           จากการเก็บรวบรวมสถิติของ We Are Social5F5F5F เกี่ยวกับพฤติกรรมทางดิจิทัลของคนไทยในป? 2024

พบว?า คนไทยมีผูใ? ชง? านอินเทอร?เน็ตมากถงึ 63.21 ล?านคน หรือมากถึงร?อยละ 88 ของประชากร โดยมีการใช?

อินเทอร?เน็ตใน 1 วันเฉลี่ยอยู?ที่ 7 ชั่วโมง 58 นาที และเมื่อพิจารณาในเชิงลึกจะพบว?า มีการติดตามข?าวสาร

บนอินเทอร?เน็ตร?อยละ 60.30 ซึ่ง Digital Quality OF Life Index รายงานว?า ช?วงอายุ 55 – 64 ป?

เป?นกลุ?มที่นิยมเข?าใช?งานอินเทอร?เน็ตเพื่อติดตามข?าวสารออนไลน?มากที่สุดซึ่งสอดคล?องกับสัดส?วนการใช?

อินเทอร?เน็ตที่เพิ่มขึ้นจากร?อยละ 12.20 ในป? 2566 เป?นร?อยละ 13.30 ซึ่งสวนทางกับกลุ?มช?วงอายุ 18 – 24

ป?ที่มสี ดั สว? นการใช?อนิ เทอรเ? น็ตลดลงอยา? งชัดเจนจาก ร?อยละ 22.10 ในป? 2566 เหลือรอ? ยละ 18.20 ในปน? ี้

5 ฐติ นิ นั บญุ ภาพ คอมมอน. (2556). บทบาทของส่อื ใหมใ? นการสร?างคา? นิยมทางสังคมและอัตลักษณ?ของเยาวชนไทยในเขต
กรงุ เทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑติ ย.?
6 อารยี ? ปอ? งสีดา และคณะ. (2559). เรยี นร?ูเร่อื งส่ือ. กรงุ เทพฯ: สามเจริญพาณชิ ย.?
7 ณฏั ฐ?ชดา วฒั นาชยั ผล. (2560). ส่ือใหมก? บั การเปลยี่ นแปลงกระบวนการสื่อข?าว New Media and Changes of News
Reporting Process. วารสารมหาวทิ ยาลยั นครพนม, 7, 63-71.

                                                                                               16
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21