Page 14 - PerceptionSurvey2024
P. 14

การดำเนินนโยบาย ตลอดจนการตัดสินใจดำเนินงานเพื่อตอบสนองความต?องการของประชาชนโดยการสื่อสาร
แบบสองทางกล?าวคือ ประชาชนในฐานะผู?รับสารมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็นและอาจถูกนำไปพิจารณา
ในการตัดสินใจในนโยบายขององค?กรในฐานะผู?ส?งสาร ซึ่งต?องอาศัยการวางแผนประชาสัมพันธ? ที่มีกลยุทธ?
ในการประชาสัมพันธ?เพื่อให?บรรลุเป?าหมาย มีการกำหนดการสื่อสารอย?างเป?นระบบเพื่อให?ทิศทางใน
การสื่อสารประชาสัมพันธ?มีความชัดเจน ทั้งนี้ ก็เพื่อให?ประชาชนเชื่อมั่นในตัวองค?กร จนสามารถเข?ามาเป?น
สว? นหนึ่งในการให?ความร?วมมือในการดำเนินนโยบาย

2. ขั้นตอนการวางแผนประชาสมั พันธ? (ประทีป รักธรรม, 2561)3
      2.1 การศึกษาสภาพการณ?และสภาพป?ญหา โดยต?องมีความเข?าใจสถานการณ? ของสถาบันองค?การ

นน้ั ตง้ั แตภ? มู ิหลงั จนถึงป?จจบุ ัน โดยครอบคลุมถงึ การศึกษาภาพลักษณ?ประชามติ การวเิ คราะห?เนื้อหาข?าวสาร
เพอื่ ให?สามารถระบปุ ?ญหาไดช? ัดเจน และจัดลำดับความสำคญั ของปญ? หาว?า ป?ญหาใดควรได?รับการแกไ? ขกอ? น

      2.2 กำหนดวตั ุประสงค?ของแผนการประชาสัมพนั ธ? คอื การกำหนดวัตถุประสงค? เพ่ือเปน? แนวทางท่ี
จะนําไปสู?ความสำเร็จโดยเป?นข?อความที่ชัดเจนแน?นอนว?าสถาบันองค?การ ต?องการสร?างสรรค?ความเข?าใจ
ในส่งิ ใด หรอื ต?องการแก?ปญ? หาใดบ?างเป?นตน? การกําหนดวัตถุประสงค? และเปา? หมายตอ? งมีความชัดเจน

      2.3 กําหนดกลุ?มประชาชนเป?าหมาย เพื่อให?ผู?วางแผนและผู?นําแผนไปปฏิบัติได?มีความรู?จักและ
เข?าใจประชาชนที่แผนนั้นจะเข?าถึง เพราะประชาชนแต?ละกลุ?มมีความแตกต?างกัน สามารถแบ?งกลุ?มประชาชนได?
ดงั นี้ (ณฏั ฐช? ดุ า วิจติ รจามร,ี 2559)34

            2.3.1 กลุ?มประชาชนภายในและภายนอก (Internal and External Publics) กลุ?มประชาชน
ภายในองค?กร ได?แก? ผู?บริหารทุกระดับ คณะกรรมการบริหาร ผู?ถือหุ?น และพนักงาน นักประชาสัมพันธ?ต?องให?
ข?อมูลข?าวสารเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวขององค?กรเพื่อสร?างความเข?าใจที่ถูกต?อง อย?าปล?อยให?บุคลากรได?รับ
ข?าวสารขององค?กรจากการรายงานข?าวทางสื่อมวลชนหรือคนภายนอก ส?วนกลุ?มประชาชนภายนอก
มีหลายกลุ?ม เช?น ลูกค?า ชุมชน สื่อมวลชน รัฐบาล กลุ?มผลประโยชน? นักวิชาการ นักวิเคราะห?การเงิน ผู?ถือหุ?น
ผู?บรโิ ภค เป?นตน?

            2.3.2 กลุ?มประชาชนหลักและรอง (Primary And Secondary Publics) กลุ?มที่มี
ผลโดยตรงต?อเป?าหมายขององค?กรและเป?นกลุ?มที่มีทรัพยากรจําเป?นต?อองค?กร ซึ่งมีความสําคัญมาก
สว? นกล?มุ ประชาชนรองเปน? กล?ุมที่มผี ลต?อความสําเร็จขององค?กรน?อยกวา? องค?กรจึงต?องสร?างความสัมพันธ?ท่ีดี
กบั กลมุ? ประชาชนรองด?วย เน่อื งจากความจํากัดของทรัพยากร เช?น เวลา งบประมาณ ทาํ ให?นกั ประชาสัมพันธ?
ต?องใช?เวลาส?วนใหญ?ในการบริหารและสร?างความสัมพันธ?กับกลุ?มประชาชนหลักก?อน และจะสร?าง
ความสัมพันธ?กบั กลมุ? ประชาชนรองในภายหลังด?วยตามทรัพยากรองค?กรท้งั คน เงนิ และเวลา

3 ประทปี รกั ธรรม. (2561). การบรหิ ารงานประชาสมั พันธ? สถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนภาคกลางตอนลา? ง เขตกรุงเทพมหานคร.
4 ณฏั ฐช? ุดา วิจติ รจามร.ี (2559). หลักการประชาสมั พันธ?. สำนกั พิมพม? หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร?.

                                                                                               14
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19