Page 16 - PR BMA สำรวจสมบูรณ์ (SEP23)
P. 16

ยทุ ธศาสตรท? ่ี 1 การสรา? งเมืองปลอดภัยและหยุน? ตัวต?อวิกฤตการณ? ประกอบด?วยประเดน็ ยุทธศาสตร?
ยอ? ย ดังนี้

      ยุทธศาสตร?ย?อยที่ 1.1 ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด ให?ความสำคัญกับการสร?างความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย?สินของประชาชนจากเหตุอาชญากรรมในรูปแบบต?าง ๆ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมุ?งเน?น
แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร? “3 ลด 3 เพิ่ม” กล?าวคือ แนวทาง “3 ลด” ได?แก? 1) ลดการเกิดคดีอุกฉกรรจ?
และอาชญากรรมพื้นฐาน 2) ลดความล?อแหลมของสภาพแวดล?อมต?อการก?ออาชญากรรมในพื้นท่ี
กรุงเทพมหานคร 3) ลดระดบั ความรุนแรงของป?ญหายาเสพตดิ รวมถึงลดจำนวนผเู? สพตดิ ในสว? นของแนวทาง
“3 เพิ่ม” ได?แก? 1) เพิ่มความปลอดภัยในพื้นที่สาธารณะ 2) เพิ่มความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย?สิน และ
3) เพิ่มระดบั การมสี ?วนรว? มของประชาชนในประเดน็ ความปลอดภัยสาธารณะของเมือง

      ยทุ ธศาสตรย? อ? ยที่ 1.2 ปลอดอบุ ัติเหตุ ให?ความสำคญั กบั การลดอุบัตเิ หตุและสร?างความปลอดภัยทาง
ถนน รวมถึงขนส?งมวลชนของเมือง ด?วยการทบทวนและปรับตัวชี้วัดที่มุ?งสร?างความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ
โดยเฉพาะอุบัติเหตุทางถนนและขนส?งมวลชนสาธารณะ เพื่อป?องกันและลดจำนวนผู?บาดเจ็บหรือผู?เสียชีวิต
จากอุบัติเหตุ รวมทั้งการสร?างความปลอดภัยในการใช?ถนนและบริการสาธารณะ สำหรับทิศทางของ
ยทุ ธศาสตรย? อ? ยท่ี 1.2 มุง? เนน? การลดจำนวนผู?บาดเจ็บและผเู? สยี ชีวิตจากอุบัติเหตุ เพ่มิ ความปลอดภัยในการใช?
บริการขนส?งมวลชนของกรุงเทพมหานคร ลดการหยุดชะงักและความผิดพลาดของระบบขนส?งมวลชนของ
กรุงเทพมหานคร ลดความเสี่ยงหรือโอกาสที่ทำให?เกิดอุบัติเหตุ โดยตรวจสอบสภาพถนนจุดเสี่ยงอันตราย
(Black Spot) และปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตรายต?าง ๆ ภายหลังการเกิดอุบัติเหตุ การใช?เทคโนโลยีเพื่อบริหาร
จดั การความปลอดภยั ทางถนน

      ยุทธศาสตร?ย?อยที่ 1.3 ปลอดภัยพิบัติ ป?จจุบันการจัดการภัยพิบัติได?มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน?ของ
การจัดการใหม? จากเดิมที่เน?นการจัดการในภาวะฉุกเฉินไปสู?การจัดการและลดความเสี่ยงภัยพิบัติ
(Disaster Risk Reduction) ตามแนวทางกรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อลดความเสี่ยงภัยพิบัติ ทว?า
ผลการดำเนินการในช?วงที่ผ?านมา กอปรกับตัวช้ีวัดและกลยทุ ธ?ที่อยู?ภายใต?ยุทธศาสตรย? ?อยที่ 1.3 ยังคงมุ?งเน?น
การจัดการกับภัยเดิมที่กรุงเทพมหานครเผชิญบ?อยครั้ง ได?แก? อุทกภัย (น้ำรอระบาย) และเหตุเพลิงไหม?
ซง่ึ เปน? ภยั ทเ่ี กดิ ขน้ึ บอ? ยในพ้นื ที่ของกรงุ เทพมหานคร อกี ทง้ั หน?วยงานทีเ่ กี่ยวข?องยังคงมง?ุ เนน? การบริหารจัดการ
เฉพาะภารกจิ ของหนว? ยงานเป?นหลัก มากกว?าการบรหิ ารจัดการได?อย?างครอบคลุมในทุกภัยและทุกผลกระทบ
และที่ผ?านมากรุงเทพมหานครยังคงปรากฏให?เห็นถึงช?องว?าง กรุงเทพมหานครยังขาดหน?วยงานที่รับผิดชอบ
กับการจัดการกับภัยพิบัติอย?างครอบคลุม และการจัดการน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครเป?นภารกิจของ
สำนักการระบายน้ำ ป?ญหาสำคัญคือ การทำงานแบบแยกส?วนในการจัดการเฉพาะภัย ซึ่งไม?ครอบคลุมกับ
สาธารณภัยประเภทอ่ืน ๆ

      ยุทธศาสตร?ย?อยที่ 1.4 ปลอดอุบัติภัยจากสิ่งก?อสร?าง ป?จจุบันกรุงเทพมหานครเป?นเมือง
ที่มกี ารขยายตวั อยา? งตอ? เนื่อง ทำให?มกี ารก?อสร?างอาคารต?าง ๆ เพม่ิ มากขึน้ ขณะเดียวกนั กรงุ เทพมหานครเป?น
เมืองที่เต็มไปด?วยโครงสร?างของเมืองและกลุ?มอาคารเก?าจำนวนมากที่ต?องเฝ?าระวังและตรวจสอบอย?าง
สม่ำเสมอ โดยทิศทางการขับเคล่ือนในยุทธศาสตร?ที่ 1.4 ม?ุงเนน? ใหก? รงุ เทพมหานครดำเนินการตรวจสอบ และ

รายงานผลการสำรวจส่อื ประชาสมั พันธ?และภาพลักษณ?ของกรงุ เทพมหานคร ประจำป? 2566  10
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21