Page 11 - PR BMA สำรวจสมบูรณ์ (SEP23)
P. 11
การสำรวจสื่อประชาสัมพันธ?และภาพลักษณ?ของกรุงเทพมหานคร ประจำป?งบประมาณ พ.ศ. 2566
ผ?จู ดั ทำไดม? ีการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารทเี่ กีย่ วข?อง ดงั ตอ? ไปนี้
1. แนวคดิ การประชาสัมพันธ?และการสื่อสารภาพลกั ษณอ? งค?กร
ประชาสัมพันธ?เป?นการสือ่ สาร เผยแพร?ข?าวสาร ผ?านกระบวนการสื่อสารและสื่อที่เหมาะสมไปยังผู?รับสาร
เพื่อให?ผู?รับสารเกิดการรับรู? ความเข?าใจ และมีทัศนคติที่ดีให?เกิดกับกลุ?มเป?าหมายเป?ดรับสารเพื่อให?เกิด
ความร?วมมือตามวัตถุประสงค?ที่ผู?ส?งสารต?องการ การประชาสัมพันธ?ยังเป?นเครื่องมือในการสร?างภาพลักษณ?
สรา? งความนา? เชอ่ื สร?างคา? นยิ มไปยงั บุคคลและองคก? รเพ่ือสร?างความสัมพันธอ? นั ดีระหวา? งองค?กรและประชาชน
ซึ่งความสำคัญของการประชาสัมพันธ?มีผลโดยตรงกับองค?กร ทั้งนี้ บุณยนุช ธรรมสอาด (2551)01 ได?อธิบาย
ความสำคัญของการประชาสัมพันธ?ที่เกิดขึ้นกับองค?กร อาทิ การประชาสัมพันธ?ช?วยส?งเสริมภาพลักษณ?และ
สร?างค?านิยมขององค?กรได?ดีขึ้น โดยการสร?างความสัมพันธ?อันดีกับคนทุกกลุ?มทั้งพนักงาน ลูกค?า หรือ
ประชาชนทั่วไป คือการเผยแพร? ชี้แจงข?าวสารให?เห็นถึงคุณงามความดีให?เกิดความเลื่อมใสและสร?างความ
ผูกพันทางใจหรือการประชาสัมพันธ?เพื่อช?วยป?องกันรักษาชื่อเสียงของหน?วยงาน โดยเป?นการสื่อสารในสิ่งที่
ผู?บริโภคหรือประชาชนเข?าใจผิด ในขณะเดียวกันองค?กรก็ต?องพัฒนาปรับปรุงตัวเอง รวมทั้งบริการต?าง ๆ ให?
ตรงกับความต?องการของประชาชน เพอ่ื ลดความไมส? ะดวก ความเข?าใจผิด อันเปน? ผลท่นี ําไปสู?การวิพากษ?วิจารณ?
ใหเ? กดิ การเสียช่อื เสยี ง
จากข?างต?นจะเห็นได?วา? การประชาสัมพันธ?และการส่ือสารภาพลักษณ?องค?กร สิ่งที่ต?องให?ความสำคัญ
เป?นอันดับแรก คือ กลุ?มเป?าหมาย โดย ณัฏฐ?ชุดา วิจิตรจามรี (2559)1 2 ได?อธิบายหลักการสำคัญของ
การประชาสัมพันธ? โดยให?ความสำคัญกลุ?มเป?าหมายหรือกลุ?มประชาชน เพื่อจะได?ใช?การสื่อสารให?เหมาะสม
ของแต?ละกลุ?ม ซง่ึ จำแนกกลมุ? เป?าหมายเป?น 4 กลม?ุ ดังนี้
1. กลุ?มประชาชนภายในและภายนอก (Internal and External Publics) กลุ?มประชาชนภายใน
องค?กร ได?แก? ผู?บริหารทกุ ระดบั คณะกรรมการบริหาร ผู?ถือหุน? และพนักงาน นักประชาสัมพันธ?ต?องให?ข?อมลู
ขา? วสารเกย่ี วกับความเคล่ือนไหวขององค?กรเพื่อสร?างความเข?าใจที่ถูกต?อง อย?าปลอ? ยใหบ? ุคลากรได?รับข?าวสาร
ขององค?กรจากการรายงานข?าวทางสื่อมวลชนหรือคนภายนอก ส?วนกลุ?มประชาชนภายนอกมีหลายกลุ?ม เชน?
ลกู ค?า ชมุ ชน สอ่ื มวลชน รัฐบาล กลุ?มผลประโยชน? นักวชิ าการ นกั วิเคราะหก? ารเงนิ ผ?ูถือหุน? ผูบ? รโิ ภค เปน? ต?น
2. กลุ?มประชาชนหลักและรอง (Primary and Secondary Publics) กลม?ุ ทีม่ ผี ลโดยตรงตอ? เปา? หมาย
ขององคก? รและเป?นกลุ?มทมี่ ีทรัพยากรจำเป?นต?อองค?กร ซ่ึงมีความสำคัญมาก ส?วนกลุ?มประชาชนรองเป?นกล?ุมที่
มีผลต?อความสำเร็จขององค?กรน?อยกว?า องค?กรจึงต?องสร?างความสัมพันธ?ที่ดีกับกลุ?มประชาชนรองด?วย
เนื่องจากความจำกัดของทรัพยากร เช?น เวลา งบประมาณ ทำให?นักประชาสัมพันธ?ต?องใช?เวลาส?วนใหญ?
1 บุณยนุช ธรรมสอาด. (2551). คู?มือปฏิบัติงานประชาสัมพันธ? เรื่องหลักการประชาสัมพันธ?. สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา
มธั ยมศกึ ษาเขต 5: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐานกระทรวงศึกษาธิการ.
2 ณัฏฐ?ชดุ า วจิ ติ รจามร.ี (2559). หลักการประชาสัมพันธ?. สำนักพิมพม? หาวิทยาลยั เกษตรศาสตร?.
รายงานผลการสำรวจสอ่ื ประชาสมั พันธ?และภาพลักษณ?ของกรุงเทพมหานคร ประจำป? 2566 5