Page 12 - PR BMA สำรวจสมบูรณ์ (SEP23)
P. 12

ในการบริหารและสร?างความสัมพันธ?กับกลุ?มประชาชนหลักก?อน และจะสร?างความสัมพันธ?กับกลุ?มประชาชน
รองในภายหลังดว? ยตามทรพั ยากรองค?กรทงั้ คน เงนิ และเวลา

      3. กลุ?มประชาชนดั้งเดิมและกลุ?มประชาชนในอนาคต (Traditional and Future Publics)
พนักงานและลูกค?าป?จจุบันถือเป?นกลุ?มประชาชนดั้งเดิมที่องค?กรต?องสื่อสารเพื่อสร?างความเข?าใจและ
ความสัมพันธ?ที่ดี ส?วนกลุ?มประชาชนในอนาคตหมายถึงกลุ?มที่มีโอกาสและศักยภาพที่จะเป?นลูกค?าในอนาคต
เชน? นกั เรยี น นักศกึ ษา ทอ่ี าจจะเป?นกลมุ? เปา? หมายขององค?กรเมื่อสำเรจ็ การศึกษา

      4. กล?ุมผสู? นับสนนุ ผูค? ัดค?าน และกล?มุ อสิ ระ (Proponents, Opponents and The uncommitted)
องค?กรตอ? งใชว? ิธีการส่ือสารท่ีแตกต?างกันกบั แต?ละกลุ?ม สำหรบั กลุ?มผู?สนบั สนุนอยู?แลว? ต?องใช?วิธีการสื่อสารเพ่ือ
ตอกย้ำความเชื่อ ในขณะที่ต?องใช?กลยุทธ?ในการโน?มน?าวใจเพื่อเปลี่ยนแปลงทัศนคติกลุ?มผู?คัดค?าน
ส?วนกลุ?มอิสระที่ยังไม?มีการแสดงท?าทีใด ๆ ก็มีความสำคัญ โดยเฉพาะอย?างยิ่งในการประชาสัมพันธ?ทาง
การเมือง การแบ?งกลุ?มประชาชนในการประชาสัมพันธ?จึงเป?นป?จจัยความสำคัญในการสร?างความเข?าใจอันดี
และการสร?างชื่อเสียงขององค?กร ซึ่งนักประชาสัมพันธ? จะต?องมีความละเอียดและรอบคอบในการแบ?งแยก
กลุ?มประชาชนให?เหมาะสม ทั้งในด?านของลักษณะประชากรพื้นฐาน เช?น เพศ อายุ การศึกษา ฐานะ ความ
แตกต?างด?านภาษา วัฒนธรรมและประเพณีของแต?ละสังคมจะทำให?การประชาสัมพันธ?มีประสิทธิภาพ และ
เพอื่ ท่ีจะรกั ษาความคงอยข?ู องกลุ?มประชาชนตา? ง ๆ กับองค?กรให?นานทสี่ ุด

      ทั้งนี้ นอกจากการพิจารณากลุ?มเป?าหมาย อีกหนึ่งป?จจัยที่ต?องให?ความสำคัญ คือ ช?องทาง
ในการประชาสัมพันธ? ซึ่งในป?จจุบันสื่อได?มีการเปลี่ยนแปลงจาก สื่อเก?าหรือสื่อดั้งเดิม (Traditional Media)
ที่ได?มีการปรับเปลี่ยนสู?สภาพแวดล?อมและการแข?งขันที่เปลี่ยนไป ไปสู?สื่อใหม? (New Media) ที่ยังมี
ความทา? ทายต?อการเปลย่ี นแปลงของสังคม

      สือ่ เก?า หรือ ส่อื ด้ังเดิม (Traditional Media) เป?นสือ่ ท่ผี ู?ส?งสารทำหน?าทส่ี ง? สารไปยังผรู? ับสารได?ทาง
เดียว และผู?รับสารไม?สามารถติดต?อกลับทางตรงไปยังผู?ส?งสารได? เช?น หนังสือพิมพ? สื่อโทรเลข สื่อวิทยุ สื่อ
โทรทัศน? และสื่อภาพยนตร? (ฐิตินัน บุญภาพ คอมมอน, 2556)23 ซึ่งบางสื่อต?องเผชิญป?ญหาของยุคหลอมรวมสื่อ
เช?น สื่อสิ่งพิมพ?อย?างหนังสือพิมพ?และนิตยสารกำลังเผชิญป?ญหา ทั้งลักษณะของข?าวสารและช?องทางการ
สื่อสาร รวมถึงข?าวที่เกิดขึ้นเมื่อเผยแพร?แล?วก็นำไปผลิตต?อและทำซ้ำได?ง?าย ๆ นอกจากนี้พัฒนาการด?าน
เทคโนโลยีทำให?พฤติกรรมของประชาชนผู?รับสารที่เปลี่ยนไป และส?งผลอย?างรุนแรงต?อธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ?จาก
แพลตฟอร?มเดิมของสิง่ พิมพ?ที่เป?น “กระดาษ” เปลี่ยนเป?นรปู แบบออนไลน?ที่สามารถเข?าถึงผ?านอุปกรณ?ตา? งๆ
ทำให?การเข?าถึงเอกสารอิเล็กทรอนิกส?สะดวกกว?าการพกพาหนังสือ (อารีย? ป?องสีดาและคณะ, 2559)3 4
ทำให?การสื่อสารผ?านสื่อสิ่งพิมพ?จึงไม?เป?นที่นิยมในป?จจุบัน อย?างไรก็ตามยังคงมีสื่อเก?าที่ยังคงมีอิทธิพลต?อการ
สื่อสารในปจ? จุบันเป?นอยา? งมาก เชน? สื่อวทิ ยุ หรือสอื่ โทรทศั น?

3 ฐิตินัน บุญภาพ คอมมอน. (2556). บทบาทของสื่อใหม?ในการสร?างค?านิยมทางสังคมและอัตลักษณ?ของเยาวชนไทยในเขต

กรงุ เทพมหานคร. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย.?
4 อารีย? ปอ? งสดี า และคณะ. (2559). เรยี นร?เู รื่องสือ่ . กรงุ เทพฯ: สามเจริญพาณิชย?.

รายงานผลการสำรวจสอ่ื ประชาสมั พนั ธแ? ละภาพลักษณ?ของกรงุ เทพมหานคร ประจำป? 2566  6
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17