Page 17 - PR BMA สำรวจสมบูรณ์ (SEP23)
P. 17
จัดการกับความเสี่ยงและความล?อแหลมของโครงสร?างต?าง ๆ เพื่อป?องกันอุบัติภัยจากสิ่งก?อสร?าง และ
ให?ความสำคัญกับการจัดทำชุดข?อมูลอาคารและโครงสร?างพื้นฐานสาธารณะ เพื่อสนับสนุนการลดความเสี่ยง
อุบัติภัยจากสิ่งก?อสร?างและส?งเสริมความปลอดภัยในการใช?อาคารและโครงสร?างพื้นฐานของเมือง
อย?างมปี ระสทิ ธิภาพ รวมถงึ การจดั ทำแผนทแ่ี สดงตำแหน?งอาคารและนำมาใช?ในการบรหิ ารจดั การเมือง
ยุทธศาสตร?ย?อยที่ 1.5 เมืองสุขภาพดี (Healthy City) (ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย)
ให?ความสำคัญกับความครอบคลุมในการจัดให?มีระบบสุขภาพในทุกระดับของกรุงเทพมหานคร
การสร?างโอกาสในการเข?าถึงบริการด?านการแพทย?และสาธารณสุข รวมไปถึงบริการด?านสุขภาพของคนเมือง
โดยมีเป?าหมายท่ีสำคัญ คือ ทำให?คนกรุงเทพฯ มีสุขภาพที่ดี หมายความถึงมาตรการการป?องกันด?วยตัวเอง
จากการออกกำลังกาย การรักษาสุขภาพ การรักษาอนามัยส?วนตัวและชุมชน รวมทั้งมีการรักษาพยาบาล
ที่รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพอย?างครอบคลุม ในการทบทวนและปรับตัวชี้วัดในครั้งนี้ ได?มีการทบทวนและ
ปรับตัวชี้วัด โดยการให?ความรู? ข?อมูลข?าวสาร และบริการด?านสุขภาพเพื่อสร?างความเข?าใจแก?ประชาชน
ในเรื่องโรคคนเมืองและอาหารปลอดภัยเพื่อสอดคล?องตามแนวคิดความรอบรู?ด?านสุขภาพของกระทรวง
สาธารณสุข ซึ่งสำนักอนามัยมีการปรับเปลี่ยน และยกระดับการดำเนินงานให?ครอบคลุมในการจัดให?มีระบบ
สุขภาพทุติยภูมิและตติยภูมิ โดยในภาพรวมนั้น ได?มีการกำหนดให?สามารถเร?งผลลัพธ?และผลสัมฤทธิ์
ทางด?านสุขภาพของคนเมืองใหม? ากขึ้น
ยุทธศาสตร?ที่ 2 การพัฒนาสิ่งแวดล?อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบด?วย
ยทุ ธศาสตร?ยอ? ย ดังน้ี
ยุทธศาสตร?ย?อยที่ 2.1 คุณภาพสิ่งแวดล?อมยั่งยืน โดยมุ?งหมายให?เป?นการปรับย?ายจาก
มิติที่ 1.1 ปลอดมลพิษ จากยุทธศาสตร?ที่ 1 มหานครปลอดภัย มาเป?นส?วนหนึ่งของยุทธศาสตร?ที่ 2
เพื่อให?สามารถดำเนินการด?านสิ่งแวดล?อมเมืองให?ครบวงจรและให?การกำกับดูแลและควบคุมคุณภาพ
สิ่งแวดล?อมทั้งด?าน คุณภาพอากาศ คุณภาพน้ำ เสียง และขยะ สามารถดำเนินการสอดรับการพัฒนาพื้นที่
สีเขียวอย?างมีคุณภาพและการลดการปล?อยก?าซเรือนกระจกของเมืองอย?างสอดประสานเป?นหนึ่งเดียวกัน
ตามแนวทางการพัฒนาทยี่ ่ังยนื
ยุทธศาสตร?ย?อยที่ 2.2 พ้ืนที่สีเขียวเพื่อสุขภาวะที่ดีและมีความยั่งยืนด?านสิ่งแวดล?อมตาม
มาตรฐานสากล กล?าวคือ มุ?งหมายให?ทิศทางการพัฒนาพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครคำนึงถึง
(1) การพัฒนาพื้นที่สีเขียวใหม?ภายใต?ความร?วมมือกับภาคส?วนอื่น ๆ ที่กรุงเทพมหานครร?วมดำเนินการ
ในฐานะพันธมิตร (2) การปรับปรุงพื้นที่สีเขียวที่มีอยู?เดิมให?สามารถรองรับการบริการระบบนิเวศและ
เป?นแหล?งดูดซับคาร?บอนของเมือง การบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติ และการใช?ประโยชน?เพื่อการ
นันทนาการ พักผ?อนหย?อนใจ การศึกษา การออกแบบและอารยสถาป?ตย? และ (3) การปรับปรุงและพัฒนา
โครงข?ายสเี ขียวของเมืองเพือ่ ใหเ? กิดการเชอ่ื มโยงของพื้นทส่ี เี ขยี วของเมือง
ยุทธศาสตร?ย?อยที่ 2.3 สังคมคาร?บอนต่ำและการรับมือต?อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ถือเป?นหนึ่งในหมุดหมายสำคัญของการพัฒนาสิ่งแวดล?อมเมืองให?มีความยั่งยืนยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกัน
เพื่อให?การดำเนินการของภาคส?วนต?าง ๆ ตลอดจนการออกแบบมาตรการและโครงการของกรุงเทพมหานคร
รายงานผลการสำรวจสอ่ื ประชาสมั พนั ธแ? ละภาพลักษณ?ของกรงุ เทพมหานคร ประจำป? 2566 11