Page 22 - Microsoft Word - คู่มือสื่อสารวิกฤต V5 TP 3OCT.docx
P. 22
เมื่อเกิดสถานการณ์ภาวะฉุกเฉินขนาด สําหรับ สปฉ. 16 การประชาสัมพันธ์และการ
ร้ายแรง กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จดั การขอ้ มูลข่าวสาร มีขอบเขตหน้าทสี่ ําคัญ ดงั น้ี
แห่งชาติจะสถาปนากลไก การสนับสนุนการ
ปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน (สปฉ.) ขึ้นมาตามความ 1. ประชาสัมพันธ์และให้ข้อมูลข่าวสารแก่
จําเป็น เพื่อเอื้ออํานวยให้การประสานงานระหว่าง ประชาชนเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉิน วิกฤตการณ์
ส่วนราชการและหน่วยงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบ หรอื ภยั คกุ คามท่ีกําลงั เกดิ ข้นึ อยา่ งรวดเร็ว
ภารกิจเฉพาะด้านเป็นการเฉพาะ โดยประกอบด้วย
18 ส่วนงาน (ไม่จําเป็นต้องสถาปนาครบทุกส่วนงาน 2. เผยแพร่ข้อมูลและความรู้ที่ถูกต้อง
ขนึ้ กบั ความจาํ เป็นของสถานการณ)์ ดงั น้ี เพื่อเตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์ให้แก่
สปฉ. 1 คมนาคม ประชาชนอย่างเท่าทัน เมื่อตรวจพบ
สปฉ. 2 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร สญั ญาณท่ีภาวะฉุกเฉนิ กําลงั ขยายตัวสู่วกิ ฤต
สปฉ. 3 สาธารณปู โภคและโครงสรา้ งพื้นฐาน
สปฉ. 4 ผจญเพลงิ 3. จัดตั้งศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ร่วม
สปฉ. 5 จดั การในภาวะฉุกเฉิน (Joint Information Center: JIC) เ พ่ื อ
สปฉ. 6 สวสั ดกิ ารสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ ทําหน้าที่เป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยน
สปฉ. 7 สนับสนนุ ทรพั ยากรทางทหาร ข้อมูล ข่าวสาร ระหว่างส่วนราชการ
สปฉ. 8 การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ หน่วยงาน ภาคเอกชน และสื่อมวลชนทั้งใน
สปฉ. 9 การคน้ หาและกูภ้ ัย ประเทศและต่างประเทศ
สปฉ. 10 เคมี วตั ถุอนั ตราย และกมั มนั ตรงั สี
สปฉ. 11 การเกษตร 4. กําหนดมาตรการตอบสนองต่อวิกฤตการณ์
สปฉ. 12 พลงั งาน ป้องกัน ข่าวลือ ข่าวเท็จ และข้อมูลท่ี
สปฉ. 13 รกั ษาความสงบเรยี บร้อย นําไปสู่ความตระหนก แตกตื่น และบ่ัน
สปฉ. 14 การฟื้นฟูเศรษฐกจิ การศึกษา วัฒนธรรม ทอนความเชื่อมั่นในการบริหารจัดการ
สปฉ. 15 การต่างประเทศ วกิ ฤต
สปฉ. 16 การประชาสมั พนั ธแ์ ละการจัดการ
สําหรับกรุงเทพมหานคร (กทม.) กําหนดให้
ข้อมูลขา่ วสาร สํานักงานประชาสัมพันธ์เป็นหน่วยงานแกนนํา
สปฉ. 17 ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม หลักในการประสานการปฏิบัติระหว่างส่วนราชการ
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการปฏิบัติ
สปฉ. 18 งบประมาณและการบรจิ าค ในดา้ นประชาสัมพันธ์และการจดั การขอ้ มลู ข่าวสาร