Page 20 - Microsoft Word - คู่มือสื่อสารวิกฤต V5 TP 3OCT.docx
P. 20
ก า ร บ ร ิ ห า ร จ ั ด ก า ร ว ิ ก ฤ ต ก า ร ณ ์ นั้ น • ก า ร บ ั ญ ช า ก า ร เ ห ต ุ ก า ร ณ ์ (Incident
ตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย Command) ห ม า ย ถ ึ ง โ ค ร ง ส ร ้ า ง ก า ร
แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 กําหนดให้ใช้ระบบ บัญชาการพื้นฐานที่มี ผู้บัญชาการเหตุการณ์
บัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command เพียงผู้เดียว ในการรับผิดชอบการบริหาร
System: ICS) เป็นระบบมาตรฐานของประเทศไทย จดั การเหตุการณ์ในภาพรวม
ในการจัดการในภาวะฉุกเฉิน โดยถือเป็นมาตรฐาน
กลางในการใช้เป็นเคร่ืองมือสําหรับอํานวยการ • การบัญชาการร่วม (Unified Command)
สั่งการ ควบคุม และประสานความร่วมมือของ หมายถึง การจัดการเหตุการณ์ที่มีหน่วยงาน
แต่ละหน่วยงานในการบริหารจัดการ เกี่ยวข้องตั้งแต่ 2 หน่วยงานขึ้นไป โดย
ภาวะฉุกเฉินและภาวะวิกฤต อีกทั้งยังเป็น รับผิดชอบในพื้นที่ทับซ้อนกันให้สามารถ
ระบบปฏิบัติการในการระดมทรัพยากรไปยังพื้นท่ี ปฏิบัติงาน ประสานแผนการทํางาน และ
เกิดเหตุ เพื่อปกป้องชีวิต ทรัพย์สิน และสิ่งแวดล้อม ประสานทรัพยากรในพื้นที่เกิดเหตุร่วมกันได้
ให้เป็นไปอย่างเอกภาพ ซึ่งประเทศไทยน้ัน บนจุดมงุ่ หมายของกลยุทธ์และยทุ ธวธิ ีเดียวกนั
ประยุกต์ใช้ระบบบัญชาการเหตุการณ์มาจาก o สําหรับเหตุการณ์ที่ไม่รุนแรง หรือ
ตวั แบบของประเทศสหรฐั อเมรกิ า เร่งด่วนมาก ให้หัวหน้าหน่วยงานหรือ
หัวหน้าชุดปฏิบัติการที่มีความ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident เชี่ยวชาญในวิกฤตการณ์นั้นๆ ซึ่ง
Command System: ICS) จึงถือเป็นเครื่องมือท่ี เข้าถึงจุดเกิดเหตุก่อน บัญชาการ
สําคัญและจําเป็นที่หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่อ เหตุการณ์ไปพลางก่อน ตามหลักการ
การบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินตลอดจนวิกฤตการณ์ บัญชาการส่วนหน้า (Command
ต้องมีความเข้าใจ เพื่อให้การปฏิบัติการในสถานการณ์ Post) จนกว่าผู้บัญชาการเหตุการณ์
เร่งด่วนสามารถทํางานสอดประสานกันภายใต้แนว ตามกฎหมายจะเข้าอํานวยการ
ปฏิบัติและมาตรฐานที่สอดรับซึ่งกันและกัน เหตุการณ์ตามหน้าทตี่ ่อไป
อย่างมีเอกภาพ
• เป้าประสงค์สําคัญของระบบฯ (1) ความ
ปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานและ
ผู้ประสบภัย (2) บรรลุเป้าหมายของการจัดการ
ภาวะฉุกเฉิน (3) ใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงาน
ให้เกดิ ประโยชน์และความคุ้มคา่ สงู สุด