Page 18 - Microsoft Word - คู่มือสื่อสารวิกฤต V5 TP 3OCT.docx
P. 18

กลยุทธ์ (Strategy) แผนทั่ว ๆ ไป หรือ                การบรรเทาทุกข์ (Relief) การให้ความ
คําแนะนําที่เลือกมาใช้เพื่อให้ปฏิบัติการบรรลุ       ช่วยเหลือเบื้องต้นในทันทีที่เกิดสาธารณภัยหรือ
วัตถุประสงคใ์ นการจัดการภาวะวกิ ฤต                  วิกฤตเพื่อรักษาชีวิตและตอบสนองต่อความต้องการ
                                                    ขั้นพนื้ ฐานทีท่ าํ ใหผ้ ู้ประสบภยั ดาํ รงชีพได้
      กลุ่มเปราะบาง (Vulnerable Group)
กลุ่มบุคคลที่มีความสามารถจํากัดในการเผชิญต่อ              การบัญชาการ (Command) การทํา
สถานการณ์วิกฤต ซึ่งจําเป็นต้องได้รับการดูแลเป็น     หน้าที่อํานวยการ สั่งการ หรือการควบคุมโดยอาศัย
พิเศษ อาทิ เด็ก สตรีมีครรภ์ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ     อํานาจ หรือบทบาทที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนใน
บคุ คลทุพพลภาพ ผู้ปว่ ย ผูล้ ี้ภัย และผู้พลดั ถิ่น  กฎหมาย กฎระเบยี บ ขน้ั ตอนปฏิบตั ิมาตรฐาน คู่มือ
                                                    หรอื อํานาจหน้าท่ีท่ไี ด้รับมอบหมาย
      การจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency
Management) การจัดระบบและบริหารจัดการ                     การบญั ชาการรว่ ม (Unified Command)
ทรัพยากรและความรับผิดชอบเพื่อตอบสนองต่อ             การประยุกต์ใช้ระบบบัญชาการเหตุการณ์เมื่อมี
สถานการณ์ฉกุ เฉนิ ทกุ รปู แบบ                       หน่วยงานที่มีอํานาจตามกฎหมายในการจัดการ
                                                    วิกฤตนั้นๆ มากกว่า 1 หน่วยงาน หรือ สถานการณ์
      การบริหารจัดการภาวะวิกฤต (Crisis              ขยายตัวข้ามขอบเขตอํานาจมากกว่า 1 หน่วยงาน
Management) เป็นการตอบสนองต่อสภาวะ                  โดยให้แต่ละหน่วยงานทํางานร่วมกันผ่านตัวแทน
เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ชั่วคราวที่เกิดขึ้นโดยไม่    ของแต่ละหน่วยงานที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิก
ปกติทั่วไป กะทันหัน นําไปสู่ความสับสนและ            ในหน่วยบัญชาการร่วม เพื่อกําหนดทิศทาง กลยุทธ์
โกลาหล โดยการควบคุมและลดขนาดของวิกฤตจน              และใช้แผนในการจดั การเปน็ หน่งึ เดียว
สามารถจัดการได้
                                                          การบัญชาการเหตุการณ์ (Incident
      การเตรยี มความพร้อม (Preparedness)            Command) หน่วยบัญชาการที่ทําหน้าท่ีรับผิดชอบ
ความพยายามในการเตรียมการรับมือและ                   จัดการเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือวิกฤตที่เกิดขึ้นใน
ตอบสนองต่อภาวะวิกฤต ภัยพิบัติ และสาธารณภัย          ภาพรวม (โปรดศึกษาเพิ่มในโครงสร้างระบบ
ผ่านมาตรการโครงสร้างกายภาพและมาตรการท่ี             บัญชาการเหตุการณ)์
มิใช่โครงสร้างโดยครอบคลุมช่วงก่อน ระหว่าง และ
หลัง ซึ่งมุ่งเน้นในการลดผลกระทบทั้งชีวิตและ               การบัญชาการส่วนหน้า (Command
ทรพั ยส์ ิน                                         Post) เป็นการบริหารจัดการเหตุการณ์โดย
                                                    การบัญชาการเหตุการณ์ ณ จุดเกิดเหตุ โดยผู้ที่มี
      การเตือนภัยล่วงหน้า (Early Warning)           ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือชํานาญใน
การให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์และเท่าทันต่อ     ว ิ ก ฤ ต ก า ร ณ ์ น ั ้ น ๆ ไ ม ่ จ ํ า เ ป ็ น ต ้ อ ง เ ป็ น
สถานการณ์ เพื่อโน้มน้าวให้ประชาชนในพื้นที่เสี่ยง    ผู้บัญชาการเหตุการณ์ตามกฎหมาย อาทิ หัวหน้า
มีพฤติกรรมในเชิงป้องกัน อาทิ อพยพไปยังพื้นท่ี       ชุดดับเพลิง หัวหนา้ ทมี กชู้ พี กภู้ ัย เป็นต้น
ปลอดภยั เป็นตน้
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23