Page 26 - Microsoft Word - คู่มือสื่อสารวิกฤต V5 TP 3OCT.docx
P. 26
เมื่อพิจารณาจากความสูงเมื่อเทียบกับ นอกเหนือจากพื้นท่ีซึ่งตั้งอยู่ในพื้นท่ี
ระดับนํ้าทะเลของกรุงเทพมหานครนั้น พบว่า ลุ่มตํ่าหรือใกล้ชายฝั่งทะเลซึ่งตํ่ากว่าระดับนํ้าทะเล
กรุงเทพมหานครมีระดับความสูงโดยเฉลี่ยตํ่ากว่า พบว่า ในพื้นที่ซึ่งตั้งอยู่ใกล้แม่นํ้าขนาดใหญ่
ระดบั นาํ้ ทะเลประมาณ 0.5 - 1.0 เมตร โดยเฉพาะแม่นํ้าเจ้าพระยานั้นถือว่ามีความเสี่ยง
ต่อการเกิดอุทกภัย หรือนํ้าล้นตลิ่งอย่างฉับพลันได้
จากภาพสะท้อนให้เห็นว่าพื้นที่บริเวณ จากกรณีนํ้าทะเลหนุนสูง โดยปรากฏในเขตต่าง ๆ
ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงเทพมหานครนั้นมี ดังน้ี
แนวโน้มความสูงโดยเฉลี่ยตํ่ากว่าระดับนํ้าทะเล
ประมาณ 0.5 เมตร โดยปรากฏในเขตตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. เขตบางรัก
2. เขตดุสิต
1. เขตลาดกระบงั 3. เขตบางพลดั
2. เขตประเวศ 4. เขตบางซอื่
3. เขตบางนา 5. เขตราษฎร์บรู ณะ
4. เขตพระโขนง อย่างไรก็ดี ความล่อแหลมต่ออุทกภัยใน
5. เขตหนองจอก แต่ละพื้นที่ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย อาทิ
6. เขตมีนบรุ ี การใชป้ ระโยชน์ท่ีดิน ระบบระบายนา้ํ เปน็ ต้น
7. เขตคลองสามวา