Page 27 - Microsoft Word - คู่มือสื่อสารวิกฤต V5 TP 3OCT.docx
P. 27
หนึ่งในบทเรียนที่สําคัญของการบริหาร ในขณะที่พื้นที่ซึ่งได้รับความเสียหายจาก
จัดการความเสี่ยงภัยพิบัติในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มวลนํ้าจากทางเหนือซึ่งมีความเสียหายมากกว่า
คือ เหตุการณ์อุทกภัย พ.ศ. 2554 ที่พบว่า ร้อยละ 20 ของพื้นท่ี มีจํานวน 9 เขต ได้แก่
มีเพียง 12 เขตเท่านั้นที่ได้รับผลกระทบจาก เ ข ต ป ร ะ เ ว ศ เ ข ต ค ั น น า ย า ว เ ข ต ม ี น บ ุ รี
เหตุการณ์น้อยมาก ประกอบด้วย เขตทุ่งครุ เขตลาดกระบัง เขตหนองจอก เขตสะพานสูง
เขตราษฎร์บูรณะ เขตคลองสาน เขตป้อมปราบ เขตลาดพร้าว เขตบางกอกน้อย และเขตบางบอน
ศัตรูพ่าย เขตราชเทวี เขตวังทองหลาง เขตพญาไท
เขตวัฒนา เขตสาทร เขตสวนหลวง เขตปทุมวัน และ พื้นที่ซึ่งได้รับผลกระทบมากที่สุด
และเขตบางนา ประกอบด้วย 12 เขต ได้แก่ เขตตลิ่งชัน
เขตทวีวัฒนา เขตบางพลัด เขตบางแค
นอกจากนี้ ผลการศึกษาทางวิชาการบ่งช้ี เขตภาษีเจริญ เขตหนองแขม เขตดอนเมือง
ว่า มีจํานวน 9 เขต ที่ได้รับผลกระทบจากการขึ้น เขตบางเขน เขตสายไหม เขตหลักสี่ เขตจตุจักร
ลงของระดับนํ้าในแม่นํ้าเจ้าพระยา ประกอบด้วย และเขตคลองสามวา
เขตพระนคร เขตดุสิต เขตสัมพันธวงศ์ เขตบางรัก
เขตบางคอแหลม เขตคลองเตย เขตยานนาวา
เขตพระโขนง และเขตบางซ่อื