Page 67 - PR BMA สำรวจสมบูรณ์ (SEP23)
P. 67
นโยบายในกลุ?มเรียนดีเกือบทั้งหมด ได?แก? การส?งเสริมหลักสูตรคิดเป?นทำเป?นการพัฒนา
โภชนาการของอาหารในโรงเรียน การลดภาระงานด?านเอกสารของครู การเพิ่มสวัสดิการครู
รวมทั้งการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู?ทั้งในเวลาและนอกเวลาเรียน ในภาพรวมนั้นถือว?า
ผู?ติดตามข?อมูลข?าวสารของกรุงเทพมหานครมีการรับรู?ในด?านนี้น?อยที่สุดเมื่อเทียบเคียงกับ
กลุ?มนโยบายอื่นๆ อย?างไรก็ดี เนื่องด?วยนโยบายในกลุ?มนี้นั้นมีกลุ?มเป?าหมายของนโยบาย
ที่เฉพาะเจาะจง และมิได?มีการขับเคลื่อนทั่วไปในพื้นที่เมืองซึ่งเป?นการดำเนินการเพียง
ในสถานศึกษาของกรุงเทพมหานครเท?านั้น จึงอาจอนุมานได?ถึงการรับรู?ที่ยังคงอยู?เพียง
แต?ในกลุ?มบุคลากรทางการศกึ ษา ผู?ปกครอง และนกั เรยี นสังกดั โรงเรยี นกรุงเทพมหานครเทา? นนั้
ความทา? ทายสำคัญของการสร?างการรับรู?นโยบายใน “กล?ุมนโยบายเรียนดี” คอื การที่กลุ?มเปา? หมาย
ของนโยบายนั้นมีอยู?อย?างจำกัดทั้งในเชิงกลุ?มประชากร กล?าวคือ เพียงเฉพาะแต?นักเรียน ผู?ปกครอง และ
บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครซึ่งเป?นผู?ได?รับผลกระทบจากนโยบาย
โดยตรงที่มีการรับรู?นโยบายอย?างดี หากแต?ผู?ที่มีส?วนเกี่ยวข?องกับนโยบายน?อย อาทิ บุคคลทั่วไป หรือ
ผู?ที่ไม?ได?มีปฏิสัมพันธ?กับการศึกษาของกรุงเทพมหานคร (กทม.) แทบไม?รับรู?ถึงความก?าวหน?า
ความแตกต?าง หรือการเปลย่ี นแปลงของการบรหิ ารจดั การการศกึ ษาของกรงุ เทพมหานครท่ีความพยายาม
อย?างมากในการขับเคลื่อนนโยบายด?านการศึกษา อนึ่ง การสื่อสารสาธารณะในชุดนโยบายการศึกษา
จำเป?นต?องสื่อสารในเชิงรุกโดยเน?นการสร?างความเข?าใจของนโยบาย ความแตกต?าง และจุดเด?นของ
ความเปลี่ยนแปลงของการศึกษาของโรงเรียนในกรุงเทพมหานครเมื่อเทียบเคียงกับการศึกษา
ในห?วงทผ่ี ?านมา ตลอดจนการสือ่ สารในเชงิ ผลกระทบจากมุมมองของนักเรยี น ผ?ปู กครอง หรอื บคุ ลากรทาง
การศึกษาทีเ่ ก่ียวขอ? ง
รายงานผลการสำรวจสือ่ ประชาสมั พนั ธ?และภาพลักษณ?ของกรงุ เทพมหานคร ประจำป? 2566 61