Page 287 - BMA Plan 68
P. 287

แผนปฏบิ ัตริ าชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2568

ท่ไี ดร้ ับการจ้างงาน จำนวน 259 คน และ (3) มกี ารจา้ งงานคนพิการท่ีเป็นข้าราชการ ลูกจ้าง อาสาสมคั รคนพิการ
ในหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร มีคนพิการได้รับการจ้างงาน จำนวน 131 คน รวมมีคนพิการได้มีงานทำทั้งสิ้น
จำนวน 399 คน สูงกว่าเป้าหมายจำนวน 306 คน นอกจากนี้ ได้เปิดการเรียนการสอน ณ โรงเรียนฝึกอาชีพ
กรุงเทพมหานคร 10 แห่ง เพ่อื ใหผ้ สู้ งู อายุ คนพิการ มรี ายไดจ้ ากการนำทักษะที่ได้รับการพัฒนาไปประกอบอาชีพ
โดยมีผู้สูงอายุจำนวน 6,201 คน คนพิการจำนวน 29 คน เข้ารับการฝึกอาชีพ ซึ่งพบว่าผู้สูงอายุ คนพิการ
ส่วนใหญ่ไม่มีความต้องการนำทักษะที่ได้รับการพัฒนาไปการประกอบอาชีพ เพียงแต่ต้องการพัฒนาทักษะ
การเรียนรเู้ พื่อไปใช้ในชีวติ ประจำวนั

             การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อส่งเสริมและอำนวยความสะดวกการใช้ชีวิต สำหรับผู้สูงอายุ
คนพิการ เพื่อให้ผู้สูงอายุ คนพิการสามารถเข้าถึงการเดินทาง และเดินทางได้อย่างสะดวกเฉกเช่นบุคคลทั่วไป
และสามารถพึง่ พาตวั เองไดแ้ ละสามารถใช้ชีวติ อยู่ในสังคมได้อย่างคนปกติ กรงุ เทพมหานครจึงพฒั นาและปรับปรุง
สิ่งอำนวยความสะดวกให้เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ คนพิการ ได้แก่ สถานีการเชื่อมต่อกับระบบขนส่งสาธารณะ
ทางเท้า อาคาร และสถานที่อื่น ๆ ของกรุงเทพมหานครให้เป็นไปตามหลัก Universal Design พร้อมทั้งอำนวย
ความสะดวกโดยจัดรถรับส่งสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ ซึ่งจัดจุดรับส่งผู้สูงอายุ คนพิการ ในระบบขนส่งมวลชน
กรงุ เทพมหานคร 16 สถานี 22 จุด โดยดำเนนิ งานจดั ทำหรือปรบั ปรุงส่งิ อำนวยความสะดวกแกผ่ ูส้ ูงอายุ คนพิการ
ในอาคารสถานที่หลักของกรุงเทพมหานคร จำนวน 21 แห่ง ได้แก่ สำนักงานเขตพญาไท สำนักงานเขตหลักส่ี
และสำนักงานเขตดอนเมือง และศูนย์บริการสาธารณสุข 18 ศูนย์ ได้แก่ ศบส.1 ศบส.6 ศบส.9 ศบส.13 ศบส.16
ศบส.17 ศบส.18 ศบส.20 ศบส.27 ศบส.32 ศบส.38 ศบส.44 ศบส.47 ศบส.49 ศบส.52 ศบส.59 ศบส.60
และ ศบส.64

             การยกระดับโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร และศูนย์บริการสาธารณสุขเพื่อให้สามารถ
รองรบั ผูส้ ูงอายุ คนพิการไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพมากขึ้น โดยมหี นว่ ยงานบรกิ ารด้านการสาธารณสุขและการแพทย์
จัดบริการช่องทางด่วนพิเศษในการให้บริการแก่ผู้สูงอายุ คนพิการแบบครบวงจร (Fast Track) ณ ศูนย์บริการ
สาธารณสุข 69 แห่ง และโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร 11 แห่ง และมีศูนย์บริการคนพิการแบบเบ็ดเสร็จ
(One Stop Service for person with disabilities) ซึ่งกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการออกบัตรประจำตัว
คนพกิ ารได้ภายใน 1 วนั และยังมีกจิ กรรมประเมนิ เดก็ อายุ 0-5 ปี ท่ีมีพฒั นาการสงสยั ลา่ ช้าให้ไดร้ บั การตดิ ตาม

             กรุงเทพมหานครดำเนินการขับเคลื่อนด้านพหุวัฒนธรรม โดยรวบรวมฐานขอมูลด้านวัฒนธรรม
ที่หลากหลายของกรุงเทพมหานครอย่างเปนระบบ รวมทั้ง สามารถเชื่อมโยงขอมูลระหว่างหนวยงานไดอย่าง
มีประสิทธิภาพ มีการเผยแพร และสามารถสบื คนเพื่อการศกึ ษา ถ่ายทอด และอนุรักษ์ไวเปนมรดกทางวฒั นธรรม
ของกรุงเทพมหานคร อีกทั้งปรับปรุงสื่อการเรียนรู้ด้านพหุวัฒนธรรมใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง
อยูตลอดเวลา เพื่อใหเกิดการพัฒนากระบวนการเรียนรูดำนพหุวัฒนธรรมของเด็ก เยาวชน และประชาชน เช่น
จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านพหุวัฒนธรรมในแหล่งเรียนรู้กรุงเทพมหานคร จัดกิจกรรมวิถีทัศน์วัฒนธรรม
Look up BKK ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดยเน้นให้เกิดพื้นที่นำเสนอความเป็นตัวตน
ของกลุม่ วฒั นธรรมตา่ ง ๆ และส่งเสริม สนับสนุนการดำเนนิ งานดา้ นศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญั ญาท้องถ่ินท่ีจัดขึ้น
โดยเครือข่าย เป็นต้น ตลอดจนพัฒนากลไกและเครือข่ายการขับเคลื่อนการเรียนรูด้านพหุวัฒนธรรมในพื้นที่
พร้อมทั้งรณรงค์ สร้างความรูความเขำใจดำนพหุวัฒนธรรมแกประชาชนในพื้นที่โดยใชชองทางสื่อที่หลากหลาย
ยังมีการดำเนินการสำรวจ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมรูปแบบต่าง ๆ ให้เป็นที่รับรู้
ของประชาชนในวงกว้าง อาทิ การสำรวจค้นหาพหุวัฒนธรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร การจัดเก็บข้อมูลพื้นที่
สาธารณะในการจดั แสดงดนตรีและงานศิลปะกลางแจ้งทุกมุมเมอื ง การแสดงดนตรี Bangkok Music in the Park
สำหรบั ดา้ นการอนรุ ักษ์ ส่งเสรมิ เผยแพรภ่ มู ิปญั ญาและวัฒนธรรมท้องถ่ินกรงุ เทพมหานคร มีกระบวนการมสี ่วนร่วม

                                                                                                    145
   282   283   284   285   286   287   288   289   290   291   292